คำอธิบาย
เครื่องมือช่างแอร์ Elitech CLD-100 เครื่องตรวจรอยรั่ว น้ำยาแอร์
คุณสมบัติทั่วไป
CLD-100 ใช้เทคโนโลยีล่าสุดในการตรวจจับการรั่วไหลของ ครอบคลุมการใช้งานทั่วไป ประสานการออกแบบสวยงามจับถนัดมือในขนาดกะทัดรัดประหยัด แต่สามารถทำงานแม่นยำและใช้งานง่าย
ตรวจจับสารทำความเย็นฮาโลเจนทุกชนิด
เครื่องตรวจจับการรั่วไหลของฮาโลเจนในอุดมคติและเศรษฐกิจขนาดกะทัดรัดในลักษณะ
มันมีเสถียรภาพและใช้งานง่าย
สามารถปรับความไวได้ตลอดเวลาและสามารถปรับเครื่องตรวจจับได้โดยอัตโนมัติไปยังสถานะทีดีทีสุดของการตรวจสอบ
IC ที่แม่นยำภายในซึ่งมีการใช้วงจรตําเป็นพิเศษให้เสถียรภาพมากขึ้น
ฟังก์ชั่น และยืดอายุแบตเตอรี่
จอแสดงผลภาพสองสีของแรงดันแบตเตอรี่
เซ็นเซอร์ทีดีเยียมให้ความไวสูงและใช้เวลานาน
สำหรับตรวจเช็คจุดที่มีนํ้ายาแอร์รั่ว
สามารถตรวจเช็คได้กับแอร์บ้าน และ แอร์รถยนต์
การประยุกต์ใช้:
จะตอบสนองต่อสารทำความเย็นทีมีฮาโลเจน (มีคลอรีนจากฟลูออรีน) เช่น
CFCs e.g.R12,R11,R500,R503 etc.
HCFCs e.g.R22,R123,R124,R502 etc.
HFCs e.g.R134a,R404a,R125 etc.
Blends such as AZ-50, HP62, MP39 etc
ตรวจจับ SF-6 ในเบรกเกอร์ไฟฟ้าแรงสูง
ตรวจหาก๊าซส่วนใหญ่ที่มีคลอรีนฟลูออรีนและโบรมีน (ก๊าซฮาโลเจน) ตรวจหาสารทำความสะอาดที่ใช้ในงานซักแห้งเช่นต่อคลอโรเอทิลีน ตรวจหาก๊าซฮาโลเจนในระบบดับเพลิง
เครื่องตรวจจับการรัวไหลของฮาโลเจนแบบสัมผัส ถูกรวมเข้ากับเทคโนโลยีตรวจจับการรั่วไหลขั้นสูง เป็นเครื่องตรวจจับการรั่วไหลของฮาโลเจนที่เหมาะและประหยัดพลังงาน
พารามิเตอร์ทางเทคนิค:
•อุณหภูมิในการทำงาน: o c-52 c (30 ° F ถึง 125 ° F);
•ความไวสูงสุด: 6 กรัม / ปีสำหรับสารทำความเย็นชนิดฮาโลเจนทุกชนิด
•อายุการใช้งานแบตเตอรี่: ประมาณ 50 ชั่วโมงใช้งานปกติ
•เวลาตอบสนอง: ทันที;
•โหมดการทำงาน: แบบต่อเนื่องไม่มีข้อ จำกัด ;
•ความยาวของหัววัดคงที่: 20 ซม.
•ขนาด: 22.9 * 6.5 * 6.5 (ซม.);
•เวลาอุ่นเครื่อง: ประมาณ 6 วินาที;
•รีเซ็ตเวลา: สองถึงสิบวินาที;
•แหล่งจ่ายไฟ 6V DC, แบตเตอรี่ AAA อัลคาไลน์จำนวน 4 ก้อน
สถานะแสดงผลของแบตเตอร์รี่
เขียว แรงดันไฟปกติ, แสดงผลการทำงานได้ดี
ส้ม แรงดันไฟระดับตํ่า ขีดจำกัดการทำงาน
ควรเปลี่ยนแบตเตอร์รี่เร็ว ๆนี้
ส่วนประกอบ
1 หัวเซนเซอร์
2 แขนดัดได้
3 ไฟแสดงสถานะการทำงาน
4 บัซเซอร์เสียงเตือน
5 ลูกบิดปิดเปิด และปรับระดับความใว
6 ช่องบรรจุแบตเตอร์รี่
7 ฝาปิด
การใช้งาน
– เปิดเครื่องโดยหมุนลูกบิดตามเข็ม บัซเซอร์จะส่งเสียงดังปิ๊ปๆต่อเนื่อง
– ตรวจดูระดับแบตเตอร์รี่ให้อยู่ระดับพร้อมใช้งาน ดูจาก LED แสดงสถานะการใช้งาน
– หมุนลูกบิดปรับระดับความไว หรือปรับได้ตลอดเวลาขณะที่กำลังใช้งานได้ โดยไม่มีผลต่อการตรวจ
– หากเครื่องตรวจพบน้ำยารั่ว, บัซเซอร์จะส่งเสียงเปลี่ยนเป็นเสียง ไซเรน
– ตรวจซ้ำ บริเวณเกิดเสียงไซเรน เพื่อตรวจจับหารอยรั่วนั้น
เคล็ดลับการใช้งาน
– ปรับระดับที่สูงสุดหากยังตรวจไม่พบรั่ว และเมื่อพบรั่วให้ลดระดับความไวลงให้เสียงดังปกติ
– หากบัซเซอร์เสียงดังจากตรวจจับรั่วนาน วงจรในเครื่องจะปรับสมดุลด้วยตัวเอง
– หากตรวจสถานทีมีกระแสลมแรง ต้องจัดหาที่บังลมตำแหน่งจุดตรวจ
– ควรระมัดระวังเครื่องอาจเสียงดังขึน เองหากหัวเซนเซอร์สัมผัสความชื้น สูงหรือสารเคมีประเภทตัวทำ ละลายบางชนิด
เงื่อนไขการตรวจจับรั่ว
– ระบบปรับอากาศหรือเครืองทำความเย็นที่ใช้งานเครื่องตรวจรั่ว จะต้องมีน้ำยาชาร์ทในระบบแรงดันไม่ต่ำกว่า 50psi ในขณะหยุดทำงาน และเครืองตรวจจะไม่สามารถจับรั่วได้ในขณะทีอุณหภูมิตํากว่า 15C เนื่องจากแรงดันมีไม่เพียงพอ
– ระมัดระวังอย่าให้หัวเซนเซอร์สัมผัสเศษปนเปื้อน ในบริเวณที่ตรวจรั่วมีสิ่งปนเปื้อนมากมาย หรือเกิดการคอนเดนท์ของหยดน้ำ หรือความชื้น ที่เกิดขึ้นได้ ควรเช็ดออกด้วยผ้าแห้งหรือเป่าเครื่องเป่าแห้ง ให้น้ำ ความชื้น สารละลายให้ออกจากเครื่องตรวจ สิ่งเหล่านี้มีผลต่อความไวทำงาน
– ควรใช้สายตาตรวจดูร่องรอยต่าง ๆ ทุกส่วนของระบบน้ำยา สังเกตุรอยน้ำ มันซึม รอยสึก สนิม ตามแนวท่อ,สายชาร์ทและชิ้นส่วนเกี่ยวข้อง ตรวจทุกพื้นที่อย่างระมัดระวัง ข้อต่อต่าง ๆ สาย จุดเชื่อม เซอร์วิสวาล์ว ฝาปิด อาจขยับท่อดู และอุปกรณ์เกี่ยวข้องจนครบ
– ไล่ตรวจรั่วในระบบตามตำแหน่งอย่างต่อเนื่องอย่างสมํ่าเสมอเพื่อแน่ในว่าไม่พลาดทุกจุดตรวจ เมื่อพบจุดรั่วหนึ่งแล้ว ควรทำการไล่ตรวจจนครบทุกจุด
– แต่ละจุดที่ทำการตรวจ ให้เคลื่อนหัวตรวจไปรอบๆ บริเวณช้า ๆ 25-50mm/วินาที หรือ 1-2 นิ้ว/วินาที และระยะห่างจุดตรวจไม่เกิน 6.3mm หรือ1/4 นิ้ว การเคลื่อนหัวไปช้า ๆ และระยะที่ถูกต้องยิ่ง มีโอกาสตรวจพบจุดรั่วชัดเจน
– การยืนยันความถูกต้องตำแหน่งรั่วที่ตรวจพบได้ชัดเจน ในกรณีดังนี้
o ไล่ลมเดิมบริเวณที่ตรวจพบรั่วออกไปให้หมด แล้วทำ การตรวจซ้ำ หากรอยรั่วมีจำนวนมาก จำเป็นต้องไล่ลมหลายครั้งเพื่อตรวจหาจุดรั่วได้ตำแหน่งต่างๆ แน่นอนยิ่งขึ้น
o ให้ย้ายเครื่องตรวจออกจากจุดตรวจแล้วทำ การรีเซทค่าใหม่ (ปิด-เปิดเครื่องใหม่) แล้วทำการตรวจซ้ำ ช้า ๆ บริเวณจุดรั่วนั้น จนได้รับการยืนยัน
– การตรวจน้ำยารั่วระบบปรับอากาศในรถยนต์ การตรวจรอยรั่วของชุดคอยล์เย็นในระบบปรับอกาศรถยนต์นั้น จะต้องเปิดพัดลมระดับแรงสุดก่อนอย่างน้อย 15 วินาที แล้วปิดเครื่อง รอน้ำยาไหลกลับ 10 นาที สอดเครื่องตรวจรั่วไปหลังพัดลมเป่าคอยล์ หรือ ช่องท่อน้ำทิ้ง ถ้าท่อน้ำแห้งอยู่ หรือตำแหน่งช่องแอร์ที่ใกล้คอยล์ที่สุด ถ้าคอยล์เย็นรั่ว เครื่องก็จะมีเสียงดังเตือน
หมายเหตุ
ดับเครื่องยนต์ ก่อนทำการตรวจรั่ว
ควรหยุดดำเนินการอื่นใดๆ ที่เกี่ยวข้องระบบทำความเย็นได้รับการแก้ไขก่อน ทำการตรวจรั่วคอยล์เย็น รวมถึงท่อส่งน้ำยาตำแหน่งต่าง ๆ
◾ เวลาทำการ 08.15 – 17.15
◾ จัดส่งทุกวัน จันทร์ – ศุกร์
◾ ตัดรอบส่งของเวลา 12.00 น. หากสั่งสินค้าหลัง 12.00 น. จะจัดส่งวันทำการถัดไป
◾ สินค้าของแท้ 100%
◾ สินค้ารับประกัน 1 ปี โดยตรงจากทางร้าน
◾ สามารถออกใบกำกับภาษีได้ รบกวนกรอกข้อมูลให้ครบก่อนกดชำระเงิน
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์